เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ
อุปกรณ์หรือว่าส่วนต่างๆที่จำเป็นสำหรับการประกอบรถเบื้องต้น ส่วนใหญ่จะมีให้ในชุดของรถที่ซื้อมาเลย เช่น พวกมอเตอร์ ตัวรถ ส่วนในพวกตัวควบคุมความเร็วแบบอิเล็คทรอนิคอาจจะต้องเพิ่มเงินในบางส่วน ส่วนผู้ที่ซื้อแบบพร้อมใช้งาน (ready to run) ในแบบนี้จะมีอุปกรณ์ทุกอย่างให้ค่อนข้างครบเลยทีเดียว ตัวรถที่แถมมาส่วนใหญ่ทำมาจากพลาสติก Lexan ซึ่งผู้เล่นต้องตัดตัวรถออกมาเอง ซึ่งในส่วนของตัวรถจำมีการเพ้นท์ไว้ให้แล้วเรียก polycarbonate paint โดยจะเพ้นท์ไว้ด้านในส่วนด้านนอกตัวรถจะปล่อยพลาสติกดูให้ดูเงางาม ส่วนโครงรถ(chassis) จะมาพร้อมกับเครื่องมือการประกอบรถเบื้องต้น เช่น ไขควง ประแจ คีม และอื่นๆ โดยในส่วนของรถแบบ ready-to-run นี้แทบจะไม่จำเป็นต้องมาตกแต่งเพิ่มเติมเลย ซึ่งการซื้อรถมาประกอบเองแบบนี้จะเป็นการดีมากๆเนื่องจากเราจะได้เห็นการทำงานและเห็นว่าส่วนต่างๆทำงานอย่างไรขณะประกอบชิ้นส่วนต่างๆเข้าด้วยกัน การที่เรารู้สิ่งต่างๆเหล่านี้จะมีค่ามากตอนที่เราต้องการซ่อมหรือปรับแต่งรถนั่นเอง
คลื่นวิทยุ
สัญญาณคลื่นวิทยุส่วนใหญ่ที่ใช้จำเป็นแบบ 2 ช่องสัญญาณ ซึ่งจะมีราคาถูกเมื่อเทียบกับที่ใช้ใน RC Aircraft ซึ่งส่วนใหญ่ในส่วนของรีโมตควบคุมจะไม่มีแบตเตอร์แบบ rechargeable ดังนั้นผู้เล่นจึงจำเป็นต้องใส่แบตเตอรี่ลงไปในส่วนของ tramsmitter เอาเอง (ส่วนใหญ่ใช้ถ่าน alkaline 8 ก้อน) สำหรับตัวรับสัญญาณวิทยุที่ใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะใช้แบบ Battery Eliminator Circuit (BEC) เพื่อช่วยให้ตัวรับสามารถรับพลังงานได้จากแบตเตอรี่จากมอเตอร์ได้โดยตรง สำหรับถ่าน rechargeable NiCd นั้นก็สามารถนำมาใช้กับ transmitter ได้เช่นกัน
การตัดสินใจใช้ตัวรับส่งสัญญาณแบบไหนเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับผู้เล่นว่าจะเลือกแบบ 2 stick หรือแบบ Pistol grip สำหรับผู้แข่งขันส่วนใหญ่นั้นจะนิยมในส่วนของ Pistol grip มากกว่าเนื่องจากสามารถควบคุมรถได้ง่ายกว่าและยังให้ความรู้สึกเป็นธรรมชาติกว่าอีกด้วย
แบตเตอรี่
ถ่านแบบที่สามารถ recharge ได้เป็นสิ่งที่จำเป็นต่อรถทุกแบบ โดยส่วนใหญ่จะใช้ถ่าน Nicd ประมาณ 6-7 ก้อนต่อเข้าด้วยกันสามารถพกไปชาร์ตเมื่อไรตอนไหนก็ได้ ซึ่งผู้แข่งรถส่วนมากจะเตรียมถ่านแบบนี้ไว้หลายๆแพคด้วยกันจะได้สลับใช้เวลาอีกอันชาร์ตอยู่นั้นเอง ซึ่งในการชาร์ตไฟแต่ละครั้งจะใช้เวลาประมาณ 20 นาที
ถ่านที่ใช้ควรทำเป็นแบบ Matched battery pack ซึ่งจะช่วยให้สามารถใช้ไฟได้จนหมดจริงๆ เพราะว่าถ่านแบบ NiCd นั้นไม่ได้ถูกสร้างให้มีประจุไฟฟ้าเท่ากันเป๊ะบางอันอาจมีมากกว่าเล็กน้อย ดังนั้นขณะใช้ก็อาจจะไม่ได้ใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพ อย่างเช่นถ่าน NiCd 6 ก้อน จะให้พลังงานได้ดีที่สุดก็ต่อเมื่อถ่านทั้งหมดสามารถส่งไฟของมันอย่างดีที่สุด หากมีก้อนไหนเกิดการสดุล หรือไม่สามารถให้พลังงานได้ อีก 5 ก้อนก็จะเกิดอาการสะดุดด้วยทำให้ไม่สามารถใช้พลังงานที่มีได้อย่างเต็มประสิทธิภาพซึ่งถือเป็นเรื่องสำคัญมากสำหรับการแข่งขัน แต่สำหรับการเล่นเพื่อความสนุกสนานนั้นเรื่องนี้ก็ไม่ได้เป็นเรื่องใหญ่โตนัก หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ประสิทธิภาพของถ่านเทียบได้กับถ่านที่แย่ที่สุดในแพคนั้นๆ ดังนั้นการทำ matched battery การรวมแบตเตอรี่ให้เป็นแถวเดียวกันช่วยให้ถ่านมีประจุต่างกันสามารถส่งพลังได้เท่าเทียมกันและมีอายุการใช้งานเท่ากันทั้งหมดนั้นเอง
เครื่องอัดแบตเตอรี่ (Charger)
Chargers มีหลากหลายแบบให้เลือกใช้ซึ่งก็มีทั้งแบบ 110VAC หรือ 12VDC หรือทั้งสองแบบในเครื่องเดียวกันก็มี
เครื่องชาร์ตไฟแบบข้ามคืนนั้นจะราคาถูกกว่าและยังให้ผลการชาร์ตที่ดีกว่าอีกด้วย แต่เครื่องแบบนี้จะใช้เวลาค่อนข้างนานคือประมาณ 10-15 ชั่วโมงเพื่อให้เต็ม ซึ่งนี่ก็เป็นข้อเสียอย่างหนึ่งของเครื่องชาร์ตไฟแบบนี้ เว้นเสียแต่ว่าคุณมีแบตเตอรี่สำรองหลายแพคก็จะไม่มีปัญหาเรื่องนี้ ส่วนใหญ่ผู้ที่เริ่มเล่น RC Car จะใช้เครื่องอัดไฟแบบตั้งเวลาซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและไฟรถ เวลาปกติก็สามารถชาร์ตที่บ้านได้ส่วนในเวลาแข่งที่สนามก็ใช้ไฟรถแทนหากที่สนามไม่มีไฟแบบ AC ให้ใช้
เมื่อเราเริ่มชาร์ตไฟเข้าแบตเตอรี่ วงจรจะทำการ discharge แบตเตอรี่ทันทีเพื่อกันปัญหาการอัดไฟเกินขนาด โดยหลังจาก discharge เครื่องจะทำการจับเวลาชาร์ตตามเวลาที่ตั้งไว้ก่อนหน้า ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะใช้เวลาประมาณ 15-25 นาที สำหรับ 1400 maH ซึ่งเครื่องแบบนี้ก็ยังสามารถตั้งเวลาให้ชาร์ตแบบข้ามคืนได้อีกด้วย (trickle charge mode)
เครื่องอัดไฟอีกแบบที่เป็นที่นิยมมากสำหรับผู้แข่งขันรถ RC Car ก็คือ Peak Detection Charger เครื่องนี้จะมีวงจรใช้สำหรับวัดค่าแบตเตอรี่ว่าเต็มหรือยัง หากเต็มเครื่องจะเปลี่ยนเข้าสู่ trickle rate คือการชาร์ตไฟต่ำๆ ซึ่งเครื่องนี้จะใช้เวลาอัดไฟประมาณ 15-25 นาทีเช่นกัน
มอเตอร์
มอเตอร์ไฟฟ้าของรถ RC ส่วนใหญ่จะใช้ Mabuchi 540 ซึ่งชนิดของขดลวดที่ใช้และจำนวนที่ใช้พันรอบ armature ก็แตกต่างกันออกไป ซึ่งความแตกต่างนี้จะส่งผลถึงความเร็วและ torque ที่ได้อีกด้วย ซึ่งเราสามารถแบ่งมอเตอร์ออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆก็คือ stock และ modified
สำหรับมอเตอร์แบบ Stock นั้นใช้ได้ตามสเปคของมันเอง ปรับแต่งเพิ่มไม่ได้ ส่วนมอเตอร์ Modified สามารถปรับในส่วนของ timing และอื่นๆตามแต่ผู้เล่นต้องการได้ นอกจากนี้ modified มอเตอร์ยังให้แรงการหมุนมากกว่าแบบ stock อีกด้วยแต่ก็กินไฟกว่าเช่นกัน ข้อควรระวังในการใช้ modified มอเตอร์ก็คือต้องแน่ใจว่ารถของเราไม่ใช้รถสำหรับ stock มอเตอร์เพราะมิฉะนั้นรถอาจรับค่า torque และกระแสไฟ ที่มากกว่าไม่ไหวนั่นเอง
ตัวควบคุมความเร็ว
อุปกรณ์หรือว่าส่วนต่างๆที่จำเป็นสำหรับการประกอบรถเบื้องต้น ส่วนใหญ่จะมีให้ในชุดของรถที่ซื้อมาเลย เช่น พวกมอเตอร์ ตัวรถ ส่วนในพวกตัวควบคุมความเร็วแบบอิเล็คทรอนิคอาจจะต้องเพิ่มเงินในบางส่วน ส่วนผู้ที่ซื้อแบบพร้อมใช้งาน (ready to run) ในแบบนี้จะมีอุปกรณ์ทุกอย่างให้ค่อนข้างครบเลยทีเดียว ตัวรถที่แถมมาส่วนใหญ่ทำมาจากพลาสติก Lexan ซึ่งผู้เล่นต้องตัดตัวรถออกมาเอง ซึ่งในส่วนของตัวรถจำมีการเพ้นท์ไว้ให้แล้วเรียก polycarbonate paint โดยจะเพ้นท์ไว้ด้านในส่วนด้านนอกตัวรถจะปล่อยพลาสติกดูให้ดูเงางาม ส่วนโครงรถ(chassis) จะมาพร้อมกับเครื่องมือการประกอบรถเบื้องต้น เช่น ไขควง ประแจ คีม และอื่นๆ โดยในส่วนของรถแบบ ready-to-run นี้แทบจะไม่จำเป็นต้องมาตกแต่งเพิ่มเติมเลย ซึ่งการซื้อรถมาประกอบเองแบบนี้จะเป็นการดีมากๆเนื่องจากเราจะได้เห็นการทำงานและเห็นว่าส่วนต่างๆทำงานอย่างไรขณะประกอบชิ้นส่วนต่างๆเข้าด้วยกัน การที่เรารู้สิ่งต่างๆเหล่านี้จะมีค่ามากตอนที่เราต้องการซ่อมหรือปรับแต่งรถนั่นเอง
คลื่นวิทยุ
สัญญาณคลื่นวิทยุส่วนใหญ่ที่ใช้จำเป็นแบบ 2 ช่องสัญญาณ ซึ่งจะมีราคาถูกเมื่อเทียบกับที่ใช้ใน RC Aircraft ซึ่งส่วนใหญ่ในส่วนของรีโมตควบคุมจะไม่มีแบตเตอร์แบบ rechargeable ดังนั้นผู้เล่นจึงจำเป็นต้องใส่แบตเตอรี่ลงไปในส่วนของ tramsmitter เอาเอง (ส่วนใหญ่ใช้ถ่าน alkaline 8 ก้อน) สำหรับตัวรับสัญญาณวิทยุที่ใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะใช้แบบ Battery Eliminator Circuit (BEC) เพื่อช่วยให้ตัวรับสามารถรับพลังงานได้จากแบตเตอรี่จากมอเตอร์ได้โดยตรง สำหรับถ่าน rechargeable NiCd นั้นก็สามารถนำมาใช้กับ transmitter ได้เช่นกัน
การตัดสินใจใช้ตัวรับส่งสัญญาณแบบไหนเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับผู้เล่นว่าจะเลือกแบบ 2 stick หรือแบบ Pistol grip สำหรับผู้แข่งขันส่วนใหญ่นั้นจะนิยมในส่วนของ Pistol grip มากกว่าเนื่องจากสามารถควบคุมรถได้ง่ายกว่าและยังให้ความรู้สึกเป็นธรรมชาติกว่าอีกด้วย
แบตเตอรี่
ถ่านแบบที่สามารถ recharge ได้เป็นสิ่งที่จำเป็นต่อรถทุกแบบ โดยส่วนใหญ่จะใช้ถ่าน Nicd ประมาณ 6-7 ก้อนต่อเข้าด้วยกันสามารถพกไปชาร์ตเมื่อไรตอนไหนก็ได้ ซึ่งผู้แข่งรถส่วนมากจะเตรียมถ่านแบบนี้ไว้หลายๆแพคด้วยกันจะได้สลับใช้เวลาอีกอันชาร์ตอยู่นั้นเอง ซึ่งในการชาร์ตไฟแต่ละครั้งจะใช้เวลาประมาณ 20 นาที
ถ่านที่ใช้ควรทำเป็นแบบ Matched battery pack ซึ่งจะช่วยให้สามารถใช้ไฟได้จนหมดจริงๆ เพราะว่าถ่านแบบ NiCd นั้นไม่ได้ถูกสร้างให้มีประจุไฟฟ้าเท่ากันเป๊ะบางอันอาจมีมากกว่าเล็กน้อย ดังนั้นขณะใช้ก็อาจจะไม่ได้ใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพ อย่างเช่นถ่าน NiCd 6 ก้อน จะให้พลังงานได้ดีที่สุดก็ต่อเมื่อถ่านทั้งหมดสามารถส่งไฟของมันอย่างดีที่สุด หากมีก้อนไหนเกิดการสดุล หรือไม่สามารถให้พลังงานได้ อีก 5 ก้อนก็จะเกิดอาการสะดุดด้วยทำให้ไม่สามารถใช้พลังงานที่มีได้อย่างเต็มประสิทธิภาพซึ่งถือเป็นเรื่องสำคัญมากสำหรับการแข่งขัน แต่สำหรับการเล่นเพื่อความสนุกสนานนั้นเรื่องนี้ก็ไม่ได้เป็นเรื่องใหญ่โตนัก หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ประสิทธิภาพของถ่านเทียบได้กับถ่านที่แย่ที่สุดในแพคนั้นๆ ดังนั้นการทำ matched battery การรวมแบตเตอรี่ให้เป็นแถวเดียวกันช่วยให้ถ่านมีประจุต่างกันสามารถส่งพลังได้เท่าเทียมกันและมีอายุการใช้งานเท่ากันทั้งหมดนั้นเอง
เครื่องอัดแบตเตอรี่ (Charger)
Chargers มีหลากหลายแบบให้เลือกใช้ซึ่งก็มีทั้งแบบ 110VAC หรือ 12VDC หรือทั้งสองแบบในเครื่องเดียวกันก็มี
เครื่องชาร์ตไฟแบบข้ามคืนนั้นจะราคาถูกกว่าและยังให้ผลการชาร์ตที่ดีกว่าอีกด้วย แต่เครื่องแบบนี้จะใช้เวลาค่อนข้างนานคือประมาณ 10-15 ชั่วโมงเพื่อให้เต็ม ซึ่งนี่ก็เป็นข้อเสียอย่างหนึ่งของเครื่องชาร์ตไฟแบบนี้ เว้นเสียแต่ว่าคุณมีแบตเตอรี่สำรองหลายแพคก็จะไม่มีปัญหาเรื่องนี้ ส่วนใหญ่ผู้ที่เริ่มเล่น RC Car จะใช้เครื่องอัดไฟแบบตั้งเวลาซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและไฟรถ เวลาปกติก็สามารถชาร์ตที่บ้านได้ส่วนในเวลาแข่งที่สนามก็ใช้ไฟรถแทนหากที่สนามไม่มีไฟแบบ AC ให้ใช้
เมื่อเราเริ่มชาร์ตไฟเข้าแบตเตอรี่ วงจรจะทำการ discharge แบตเตอรี่ทันทีเพื่อกันปัญหาการอัดไฟเกินขนาด โดยหลังจาก discharge เครื่องจะทำการจับเวลาชาร์ตตามเวลาที่ตั้งไว้ก่อนหน้า ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะใช้เวลาประมาณ 15-25 นาที สำหรับ 1400 maH ซึ่งเครื่องแบบนี้ก็ยังสามารถตั้งเวลาให้ชาร์ตแบบข้ามคืนได้อีกด้วย (trickle charge mode)
เครื่องอัดไฟอีกแบบที่เป็นที่นิยมมากสำหรับผู้แข่งขันรถ RC Car ก็คือ Peak Detection Charger เครื่องนี้จะมีวงจรใช้สำหรับวัดค่าแบตเตอรี่ว่าเต็มหรือยัง หากเต็มเครื่องจะเปลี่ยนเข้าสู่ trickle rate คือการชาร์ตไฟต่ำๆ ซึ่งเครื่องนี้จะใช้เวลาอัดไฟประมาณ 15-25 นาทีเช่นกัน
มอเตอร์
มอเตอร์ไฟฟ้าของรถ RC ส่วนใหญ่จะใช้ Mabuchi 540 ซึ่งชนิดของขดลวดที่ใช้และจำนวนที่ใช้พันรอบ armature ก็แตกต่างกันออกไป ซึ่งความแตกต่างนี้จะส่งผลถึงความเร็วและ torque ที่ได้อีกด้วย ซึ่งเราสามารถแบ่งมอเตอร์ออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆก็คือ stock และ modified
สำหรับมอเตอร์แบบ Stock นั้นใช้ได้ตามสเปคของมันเอง ปรับแต่งเพิ่มไม่ได้ ส่วนมอเตอร์ Modified สามารถปรับในส่วนของ timing และอื่นๆตามแต่ผู้เล่นต้องการได้ นอกจากนี้ modified มอเตอร์ยังให้แรงการหมุนมากกว่าแบบ stock อีกด้วยแต่ก็กินไฟกว่าเช่นกัน ข้อควรระวังในการใช้ modified มอเตอร์ก็คือต้องแน่ใจว่ารถของเราไม่ใช้รถสำหรับ stock มอเตอร์เพราะมิฉะนั้นรถอาจรับค่า torque และกระแสไฟ ที่มากกว่าไม่ไหวนั่นเอง
ตัวควบคุมความเร็ว
มี 2 แบบใหญ่ๆด้วยกันนั้นก็คือ แบบ mechanical และ electronic ซึ่งส่วนใหญ่ในชุดจะให้แบบ mechanical มา (แต่ก็ไม่ทั้งหมด) เพราะว่าแบบ mechanical มีราคาถูกกว่านั้นเอง โดยปกติแล้วแบบ mechanical จะมีความเร็วเดินหน้าและถอยหลังอย่างละ 3 ระดับด้วยกัน ส่วนแบบ electronic นั้นต้องบอกว่าดีกว่าแบบ mechanical มากๆ เนื่องจากสามารถควบคุมกระแสที่ไหลเข้าสู่มอเตอร์ได้แม่นยำมาก สามารถบังคับให้รถหยุดหรือเร่งความเร็วจนถึงอัตราสูงสุดได้เต็มที่ ซึ่งส่วนใหญ่จะมีเบรคด้วยแต่อาจจะมีหรือไม่มีส่วนของการถอยหลัง ซึ่งตัวบังคับแบบ electronic บางตัวสามารถใช้ได้กับคลื่นสัญญาณวิทยุอีกด้วย
Posted by Thamonwan Virodchaiyan
ID: 4810750952
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น